Table of Contents
- บทนำ
- การทบทวนวรรณกรรม
- ระเบียบวิธีวิจัย หรือ คำประกาศว่าด้วยการวิจัย
- บทสรุป ‘จากนี้ไปจะเกิดอะไรขึ้น’?
- บรรณานุกรม
- คำขอบคุณ
บทนำ
ด้วยความเข้าใจที่เราได้มาจากงานชุดชิ้นที่ 4 เพื่อเป้าหมายการสร้างกรอบคิดใหม่สำหรับการทำข่าวในภูมิภาค ผ่านมุมมองมิติทางเพศ งานของเรามีข้อสันนิษฐานอยู่ว่า การขาดเสรีภาพสื่อ (curtailment of media freedom) ซึ่งเป็นตัวชี้วัดที่สำคัญของเสรีภาพในการแสดงออก (FoE) ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กำลังคุกคามงานของผู้ผลิตข่าว ไม่ว่าจะเป็นพนักงานประจำหรือพนักงานฟรีแลนซ์ก็ตาม ทั้งในคนที่ปฏิบัติงานหนังสือพิมพ์ โทรทัศน์ วิทยุ บรรดาสื่อใหม่ และงานอื่นๆ วิธีการวิเคราะห์โดยคำนึงถึงมิติทางเพศเป็นการเข้าใจประสบการณ์ของผู้หญิง กักเก็บประสบการณ์ของพวกเขา/เธอ และสเปกตรัมอัตลักษณ์ทางเพศในด้านความหลากหลายต่างๆ ในภูมิภาค ตลอดระยะเวลางานวิจัยของเรา เราได้ถามคำถามสำคัญที่เกิดจากงานชุดเบื้องลึกเสรีภาพสื่อ (Media Freedom Insights) ชิ้นก่อนหน้าว่า “สำหรับคุณแล้ว เสรีภาพสื่อมันหมายความว่าอย่างไรและมีหน้าตาเป็นอย่างไร?”
ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ยังคงมีการปราบปรามผู้ปฏิบัติงานสื่ออย่างโจ่งแจ้งในวงกว้างอยู่ ถึงแม้ว่าส่วนใหญ่แล้วมักจะมุ่งความสนใจไปที่การสังหารและการจับกุมมากกว่า1 แต่การมองเช่นนี้ก็ยังถือว่าคับแคบเกินไป เนื่องจากมันมองข้ามความท้าทายในแต่ละวันที่ผู้ปฏิบัติงานสื่อต้องพบเจอ หากไปมัวสนใจแต่กรณีที่ดูเป็นภัยอย่างชัดเจน ดังนั้น สำหรับเราแล้ว เสรีภาพสื่อต้องการวิธีการทำความเข้าใจแบบองค์รวม (holistic approach) เพื่อเข้าใจสิ่งที่ไม่ปรากฎอย่างชัดเจนแจ่มแจ้ง เช่น ประสบการณ์ชีวิตของคนทำงาน ปฏิสัมพันธ์ในแต่ละวันของที่ทำงาน จนถึงความไม่มั่นคงทางอาชีพ ทุกอย่างเกิดขึ้นในสภาพการกดขี่และความยากลำบากเชิงเศรษฐกิจดำเนินไปเป็นกิจวัตร ด้วยข้อเสนอของเราใน สร้างโลกที่เราต้องการ (Making the World We Want) ซึ่งเป็นคำประกาศเพื่อเสรีภาพสื่อ เราจึงได้ศึกษาค้นคว้าประเด็นหลัก ว่าด้วย ประสบการณ์ชายขอบและประสบการณ์ในมิติทางเพศ (marginalised and gendered experiences)
ด้วยความเข้าใจที่เราได้มาจากงานชุดชิ้นที่ 4 เพื่อเป้าหมายการสร้างกรอบคิดใหม่สำหรับการทำข่าวในภูมิภาค ผ่านมุมมองมิติทางเพศ งานของเรามีข้อสันนิษฐานอยู่ว่า การขาดเสรีภาพสื่อ (curtailment of media freedom) ซึ่งเป็นตัวชี้วัดที่สำคัญของเสรีภาพในการแสดงออก (FoE) ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กำลังคุกคามงานของผู้ผลิตข่าว ไม่ว่าจะเป็นพนักงานประจำหรือพนักงานฟรีแลนซ์ก็ตาม ทั้งในคนที่ปฏิบัติงานหนังสือพิมพ์ โทรทัศน์ วิทยุ บรรดาสื่อใหม่ และงานอื่นๆ วิธีการวิเคราะห์โดยคำนึงถึงมิติทางเพศเป็นการเข้าใจประสบการณ์ของผู้หญิง กักเก็บประสบการณ์ของพวกเขา/เธอ และสเปกตรัมอัตลักษณ์ทางเพศในด้านความหลากหลายต่างๆ ในภูมิภาค ตลอดระยะเวลางานวิจัยของเรา เราได้ถามคำถามสำคัญที่เกิดจากงานชุดเบื้องลึกเสรีภาพสื่อ (Media Freedom Insights) ชิ้นก่อนหน้าว่า “สำหรับคุณแล้ว เสรีภาพสื่อมันหมายความว่าอย่างไรและมีหน้าตาเป็นอย่างไร?”
บทคัดย่อ
ด้วยเห็นว่าผู้ปฏิบัติงานสื่อในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กำลังเผชิญหน้ากับสภาพที่ไม่เป็นมิตรต่อพวกเขามากขึ้นเรื่อยๆ งานชุดเบื้องลึกเสรีภาพสื่อของนิว นาราทีฟ (New Naratif) จึงตั้งใจทำความเข้าใจประสบการณ์ชีวิตของผู้ปฏิบัติงานสื่อ โดยงานนี้มีจุดตั้งต้นมาจากข้อค้นพบครั้งก่อนๆ ของเรา เราหวังว่าเราจะได้ให้พื้นที่กับประสบการณ์เชิงมิติทางเพศของผู้ทำข่าวทั่วภูมิภาค เพื่อเข้าใจระบบนิเวศสื่อให้มากขึ้น
Members only
Log in or
Join New Naratif as a member to continue reading
We are independent, ad-free and pro-democracy. Our operations are member-funded. Membership starts from just US$5/month! Alternatively, write to sponsorship@newnaratif.com to request a free sponsored membership. As a member, you are supporting fair payment of freelancers, and a movement for democracy and transnational community building in Southeast Asia.
